Buddha Quotes


Buddha


2 - 3

To keep the body in good health is a duty... otherwise we shall not be able to keep our mind strong and clear.

Buddha 

To live a pure unselfish life, one must count nothing as one's own in the midst of abundance.
Buddha 

Unity can only be manifested by the Binary. Unity itself and the idea of Unity are already two.
Buddha 

Virtue is persecuted more by the wicked than it is loved by the good.
Buddha 

We are formed and molded by our thoughts. Those whose minds are shaped by selfless thoughts give joy when they speak or act. Joy follows them like a shadow that never leaves them.
Buddha 

We are shaped by our thoughts; we become what we think. When the mind is pure, joy follows like a shadow that never leaves.
Buddha 

We are what we think. All that we are arises with our thoughts. With our thoughts, we make the world.
Buddha 

What is the appropriate behavior for a man or a woman in the midst of this world, where each person is clinging to his piece of debris? What's the proper salutation between people as they pass each other in this flood?
Buddha 

What we think, we become.
Buddha 

Whatever words we utter should be chosen with care for people will hear them and be influenced by them for good or ill.
Buddha 

When one has the feeling of dislike for evil, when one feels tranquil, one finds pleasure in listening to good teachings; when one has these feelings and appreciates them, one is free of fear.
Buddha 

Without health life is not life; it is only a state of langour and suffering - an image of death.
Buddha 

Work out your own salvation. Do not depend on others.
Buddha 

You can search throughout the entire universe for someone who is more deserving of your love and affection than you are yourself, and that person is not to be found anywhere. You yourself, as much as anybody in the entire universe deserve your love and affection.
Buddha 

You will not be punished for your anger, you will be punished by your anger.
Buddha 

You, yourself, as much as anybody in the entire universe, deserve your love and affection.
Buddha 



More:   

Buddha Quotes


Buddha


2 - 3 


It is better to travel well than to arrive.

Buddha 

Just as a candle cannot burn without fire, men cannot live without a spiritual life.
Buddha 

Just as treasures are uncovered from the earth, so virtue appears from good deeds, and wisdom appears from a pure and peaceful mind. To walk safely through the maze of human life, one needs the light of wisdom and the guidance of virtue.
Buddha 

No one saves us but ourselves. No one can and no one may. We ourselves must walk the path.
Buddha 

Peace comes from within. Do not seek it without.
Buddha 

The foot feels the foot when it feels the ground.
Buddha 

The mind is everything. What you think you become.
Buddha 

The only real failure in life is not to be true to the best one knows.
Buddha 

The tongue like a sharp knife... Kills without drawing blood.
Buddha 

The virtues, like the Muses, are always seen in groups. A good principle was never found solitary in any breast.
Buddha 

The way is not in the sky. The way is in the heart.
Buddha 

The whole secret of existence is to have no fear. Never fear what will become of you, depend on no one. Only the moment you reject all help are you freed.
Buddha 

The wise ones fashioned speech with their thought, sifting it as grain is sifted through a sieve.
Buddha 

There are only two mistakes one can make along the road to truth; not going all the way, and not starting.
Buddha 

There has to be evil so that good can prove its purity above it.
Buddha 

There is nothing more dreadful than the habit of doubt. Doubt separates people. It is a poison that disintegrates friendships and breaks up pleasant relations. It is a thorn that irritates and hurts; it is a sword that kills.
Buddha 

Those who are free of resentful thoughts surely find peace.
Buddha 

Three things cannot be long hidden: the sun, the moon, and the truth.
Buddha 

To be idle is a short road to death and to be diligent is a way of life; foolish people are idle, wise people are diligent.
Buddha 

To enjoy good health, to bring true happiness to one's family, to bring peace to all, one must first discipline and control one's own mind. If a man can control his mind he can find the way to Enlightenment, and all wisdom and virtue will naturally come to him.
Buddha 



More:  

Buddha Quotes

Buddha


1 - 2 - 3

A jug fills drop by drop.

Buddha 

All that we are is the result of what we have thought. If a man speaks or acts with an evil thought, pain follows him. If a man speaks or acts with a pure thought, happiness follows him, like a shadow that never leaves him.
Buddha 

All wrong-doing arises because of mind. If mind is transformed can wrong-doing remain?
Buddha 

An insincere and evil friend is more to be feared than a wild beast; a wild beast may wound your body, but an evil friend will wound your mind.
Buddha 

Better than a thousand hollow words, is one word that brings peace.
Buddha 

Chaos is inherent in all compounded things. Strive on with diligence.
Buddha 

Do not dwell in the past, do not dream of the future, concentrate the mind on the present moment.
Buddha 

Do not overrate what you have received, nor envy others. He who envies others does not obtain peace of mind.
Buddha 

Even death is not to be feared by one who has lived wisely.
Buddha 

Hatred does not cease by hatred, but only by love; this is the eternal rule.
Buddha 

He who loves 50 people has 50 woes; he who loves no one has no woes.
Buddha 

Health is the greatest gift, contentment the greatest wealth, faithfulness the best relationship.
Buddha 

Holding on to anger is like grasping a hot coal with the intent of throwing it at someone else; you are the one who gets burned.
Buddha 

However many holy words you read, however many you speak, what good will they do you if you do not act on upon them?
Buddha 

I do not believe in a fate that falls on men however they act; but I do believe in a fate that falls on them unless they act.
Buddha 

I never see what has been done; I only see what remains to be done.
Buddha 

In a controversy the instant we feel anger we have already ceased striving for the truth, and have begun striving for ourselves.
Buddha 

In the sky, there is no distinction of east and west; people create distinctions out of their own minds and then believe them to be true.
Buddha 

It is a man's own mind, not his enemy or foe, that lures him to evil ways.
Buddha 

It is better to conquer yourself than to win a thousand battles. Then the victory is yours. It cannot be taken from you, not by angels or by demons, heaven or hell.
Buddha 


More:  

พระคาถายอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก



*ดาวน์โหลด mp3 บทสวดคาถายอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก
*ดาวน์โหลด mp3 คาถายอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกเนื้อร้องและดนตรี

คาถายอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกต้นฉบับเดิมเปิดกรุได้ที่เมืองสวรรคโลก มีคำกล่าว ในหนังสือนำว่า ผู้ใดมีไว้ประจำบ้านเรือน มีอานิสงส์ยิ่งกว่าได้สร้างเจดีย์ทองคำสูงเทียมเทวโลก และป้องกันภยันตรายต่างๆ ทำมาหากินเจริญ ฯ


ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกคือขุมทรัพย์ เป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา ผู้ใดได้สร้างยอดพระกัฒฑ์ไตรปิฎกนี้เป็นธรรมทานและได้สวดมนต์สักการบูชาผลานิสงส์สุดที่จะพรรณนาให้ทั่วถึงได้ เป็นมหากุศลอันยิ่งใหญ่ จะมีความสุขสิริสวัสดิ์เจริญต่อไปทั้งในปัจจุบันกาลและอนาคตกาลภายภาคหน้า ตลอดบุตรหลานสืบไป ด้วยอำนาจของความเคารพในพระคาถานี้ หรือสวดครบ 7 วัน ครบอายุปัจจุบันของตนจะบังเกิดโชคลาภ ทำมาค้าขายเจริญรุ่งเรือง จะพ้นเคราะห์ปราศจากทุกข์โศกโรคภัยและภัยพิบัติทั้งปวงฯ


ผู้ใดตั้งจิตเจริญเมตตาภาวนายอดพระกัณไตรปิฎกวันละสามจบ จะไม่มีบาปกรรม ทำสิ่งใดจะได้สมความปรารถนา สวดวันละเจ็ดจบกระดูกลอยน้ำได้ (ของเก่า)

ประวัติกล่าวไว้ต้นฉบับเดิมว่า 
หนังสือยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกนี้ มีคำกล่าวไว้ในหนังสือนำว่าศักดิ์สิทธิ์ ถ้าผู้ใดได้สวดมนต์ภาวนาทุกค่ำเช้าแล้ว ผู้นั้นจะไม่ ตกอบายภูมิ แม้ได้บูชาไว้กับบ้านเรือน ก็อาจป้องกันอันตรายต่างๆ จะภาวนาพระคาถาอื่นๆ สัก 100 ปีอานิสงส์ก็ไม่สูงเท่า ภาวนา พระคาถานี้ ครั้งหนึ่งถึงแม้ว่า อินทร์ พรหม ยมยักษ์ ที่มี อิทธิฤทธ์ จะเนรมิต แผ่นอิฐ เป็นทองคำ ก่อเป็นพระเจดีย์ ตั้งแต่ มนุษยโลก สูงขึ้นไปจนถึง พรหมโลก อานิสงส์ ก็ยังไม่เท่า ภาวนา พระกัณฑ์ไตรปิฎกนี้ และ มีคำอธิบาย คุณความดี ไว้ในต้นฉบับเดิม นั้นอีกหลายประการ ฯ 

ต้นฉบับเดิม เปิดกรุได้ ที่เมืองสวรรคโลก จารเป็นอักษรขอม จารึกไว้ในใบลาน จึงแปล เป็นอักษรไทย หลวงธรรมาธิกรณ์ (พระภิกษุแสง) ได้มาแต่ ท่าฯศิลาอาสน์ มณฑล พิษณุโลก ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกนี้ ถ้าผู้ใด บริจาคทรัพย์ สร้างถวาย ภิกษุ สงฆ์ สามเณร ญาติ มิตรสหาย หรือสวดจนครบ 7 วันครบอายุปัจจุบันของตน จะบังเกิดโชคลาภทำมาค้าขายเจริญรุ่งเรือง จะพ้นเคราะห์ ปราศจากทุกข์โศกโรคภัย และภัยพิบัติ ทั้งปวง



พิธีไหว้พระและสวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก 
ก่อนเข้าห้องบูชาพระ ควรอาบน้ำชำระร่างกายให้สะอาดและนุ่งห่มให้เรียบร้อย เข้านั่งที่ด้วยความสำรวมกายใจ ตั้งจิตให้แน่วแน่เพ่งตรงยังพระพุทธรูป ระลึกถึงพระรัตนตรัย ค่อยกราบ ๓ หน แล้วสงบจิตระลึกถึงพระคุณของบิดามารดา ซึ่งเป็นพระอรหันต์ของบุตร จากนั้นจึงจุดเทียนบูชา ให้จุดเล่มด้านขวาของพระพุทธรูปก่อน แล้วจุดเล่มด้านซ้ายต่อไป จุดธูป ๓ ดอก เมื่อจุดเทียนธูปที่เครื่องสักการบูชาเสร็จแล้วเอาจิต (นึกเห็น) พระพุทธองค์มาเป็นประธาน พึงนั่ง ชายพึงนั่งคุกเข่า หญิงนั่งท่าเทพนม ประนมมือ ตั้งใจบูชาพระรัตนตรัย นมัสการพระรัตนตรัย นมัสการพระพุทธเจ้า ไตรสรณคมน์และนมัสการพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณ แล้วจึงเจริญภาวนายอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก จะเพิ่มความขลังและความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น จะเกิดพลังจิตและมีความมั่นคงในชีวิต พึงทราบด้วยว่า การเจริญภาวนาทุกครั้งต้องอยู่ในสถานที่อันสมควร ขอให้ทำจิตตั้งมั่นในบทสวดมนต์ จะมีเทพยดาอารักษ์ทั้งหลายร่วมอนุโมทนาสาธุการขออย่าได้ทำเล่น จะเกิดโทษแก่ตนเอง 
ยิ่ง ทำ ยิ่ง ได้ ยิ่ง ให้ ยิ่ง มี 

คำบูชาพระรัตนตรัย 
โย โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ 
อิเมหิ สักกาเรหิ , ตัง ภะคะวันตัง อะภิปูชะยามิ 
โย โส สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม 
อิเมหิ สักกาเรหิ , ตัง ธัมมัง อะภิปูชะยามิ 
โย โส สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ 
อิเมหิ สักกาเรหิ , ตัง สังฆัง อะภิปูชะยามิ



คำนมัสการพระรัตนตรัย 

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา 
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ ๑ หน) 
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม 
ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ ๑ หน) 
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ 
สังฆัง นะมามิ (กราบ ๑ หน) 

คำนมัสการพระพุทธเจ้า 
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ 
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ 
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ 

คำนมัสการไตรสรณคมน์ 
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ 
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ 
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ 
ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ 
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ 
ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ 
ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ 
ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ 
ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ 

คำนมัสการพระพุทธคุณพระธรรมคุณ พระสังฆคุณ 
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสามระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ ฯ 
สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ ฯ 
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อุชุปะฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต
สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลี กะระณีโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ ฯ



พระคาถายอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก (ต้นฉบับเดิม)

1. อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง วัจจะ โสภะคะวาฯ 
อิติปิ โส ภะคะวา สัมมาสัมพุทโธ วัจจะ โส ภะคะวาฯ
อิติปิ โส ภะคะวา วิชชา จะระณะ สัมปันโน วัจจะ โส ภะคะวาฯ
อิติปิ โส ภะคะวา สุคะโต วัจจะ โส ภะคะวาฯ
อิติปิ โส ภะคะวา โลกะวิทู วัจจะ โส ภะคะวาฯ


2. อะระหัน ตัง สะระณัง คัจฉามิ
อะระหัน ตัง สิระสาสัมมาสัมพุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
สัมมาสัมพุทธัง สิระสา นะมามิ
วิชชาจะระณะ สัมปันนัง สะระณัง คัจฉามิ
วิชชาจะระณะ สัมปันนัง สิระสา นะมามิ
สุคะตัง สะระณัง คัจฉามิ
สุคะตัง สิระสา นะมามิ.
โลกะวิทู สะระณัง คัจฉามิ
โลกะวิทู สิระสา นะมามิ


3. อิติปิ โส ภะคะวา อะนุตตะโร วัจจะ โส ภะคะวาฯ
อิติปิ โส ภะคะวา อะนุตตะโร ปุริสะธัมมะ สาระถิ วัจจะ โส ภะคะวาฯ
อิติปิ โส ภะคะวา สัตถา เทวะ มะนุสสานัง วัจจะ โส ภะคะวาฯ
อิติปิ โส ภะคะวา พุทโธ วัจจะ โส ภะคะวาฯ


4. อะนุตตะรัง สะระณัง คัจฉามิ
อะนุตตะรัง สิระสา นะมามิ
ปุริสะธัมมะสาระถิ สะระณัง คัจฉามิ
ปุริสะธัมมะสาระถิ สิระสา นะมามิ
สัตถา เทวะมะนุสสานัง สะระณัง คัจฉามิ
สัตถา เทวะมะนุสสานัง สิระสา นะมามิ
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
พุทธัง สิระสา นะมามิ อิติปิ โส ภะคะวา ฯ


5. อิติปิ โส ภะคะวา รูปะ ขันโธ อะนิจจะ ลักขะณะปาระมิ จะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวาฯ
อิติปิ โส ภะคะวา เวทะนา ขันโธ อะนิจจะลักขะณะ ปาระมิ จะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวาฯ
อิติปิ โส ภะคะวา สัญญา ขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมิ จะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวาฯ
อิติปิ โส ภะคะวา สังขาระ ขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมิ จะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวาฯ
อิติปิ โส ภะคะวา วิญญาณะ ขันโธ อะนิจจะลักขะณะปาระมิ จะ สัมปันโน อิติปิ โส ภะคะวาฯ


6. อิติปิ โส ภะคะวา ปะฐะวีจักกะวาฬะจาตุ มะหาราชิกา ตาวะติงสาธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา เตโช จักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสาธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา วาโยจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสาธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา อาโปจักกะวาฬะ จาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสาธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา อากาสะจักกา วาฬะจาตุมะหาราชิกา ตาวะติงสา ธาตุ สัมมาทิยานะ สัมปันโนฯ


7. อิติปิ โส ภะคะวา ยามา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา ตุสิตา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา นิมมานะระติ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา กามาวะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา รูปาวะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา จาตุมมะหาราชิกา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา ตาวะติงสา ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา ปะระนิมมิตะวะสะวัตตี ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา อะรูปาวะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโนฯ 
อิติปิ โส ภะคะวา โลกุตตะระ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโนฯ 


8. อิติปิ โส ภะคะวา ปะฐะนะฌานะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา ทุติยะฌานะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา ตะติยะฌานะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา จะตุตถะฌานะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา ปัญจะมะฌานะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโนฯ


9. อิติปิ โส ภะคะวา อากาสานัญจายะตะนะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา วิญญานัญจายะตะนะ เนวะสัญญานาสัญญายะตะนะ อะรูปาวะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา อากิญจัญญายะตะนะ เนวะสัญญานาสัญญายะตะนะ อะรูปาวะจะระ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโนฯ


10. อิติปิ โส ภะคะวา โสตาปัตติมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา สักกิทาคาปฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา อะนาคาปฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัตตะปฏิมัคคะ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโนฯ


11. อิติปิ โส ภะคะวา โสตาอะระหัตตะปฏิผะละ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโนฯ 
อิติปิ โส ภะคะวา สักกิทาคาอะระหัตตะ ปฏิผะละ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา อะนาคาอะระหัตตะ ปฏิผะละ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโนฯ
อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัตตะ ปฏิผะละ ธาตุสัมมาทิยานะ สัมปันโนฯ


12. กุสะลา ธัมมา อิติปิ โส ภะคะวา อะอา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ชัมภูทีปัญญาจะ อิสระโร กุสะลา ธัมมา นะโม พุทธายะ นะโม ธัมมายะ นะโม สังฆายะ ปัญจะ พุทธา นะมามิหัง อา ปา มะ จุ ปะ ที มะ สัง อังขุ สังวิธาปุกะยะปะ อุปะสะชะ สะเห ปาสายะ โส โส สะ สะ อะ อะ อะ อะ นิเตชะ สุเนมะ ภูจะนา วิเว อะสัง วิสุโล ปุสะพะภะ อิสะวาสุ สุสะวาอิ กุสะลา ธัมมา จิตติวิอัตถิฯ 


13. อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง อะอา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ สาโพธิปัญจะ อิสสะโร ธัมมา


14. กุสะลา ธัมมา นันทะวิวังโก อิติสัมมาสัมพุทโธ สุคะลาโน ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ จาตุมะหาราชิกา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา อิติวิชชา จะระณะสัมปันโน อุอุ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตาวิติงสา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา นันทะปัญจะ สุคะโต โลกะวิทู มะหาเอโอ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ยามา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา พรหมาสัททะ ปัญจะ สัตตะ สัตตา ปาระมี อะนุตตะโร ยะมะกะ ขะ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิฯ


15. ตุสิตา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา ปุกะยะปะ ปุริสะธัมมะ สาระถิ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิฯ


16. นิม มานะระตี อิสสะโร กุสะลา ธัมมา เหตุโปวะ สัตถา เทวะ มะนุสสานัง ตะถา ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิฯ


17. ปะระนิม มิตตะวะสะวัตตี อิสสะโร กุสะลา ธัมมา สังขาระขันโธ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ พุทธะปะผะ ยาวะชีวัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิฯ


18. พรหมา อิสสะโร กุสะลา ธัมมา นัตถิปัจจะยา วินะปัญจะ ภะคะวะตา ยาวะนิพพานัง พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ นะโม พุทธัสสะ นะโม ธัมมัสสะ นะโม สังฆัสสะ พุทธิลาโลกะ ลากะ กะระกะนา เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู สะวาหายะฯ


19. นะโม พุทธัสสะ นะโม ธัมมัสสะ นะโม สังฆัสสะ วิตติ วิตตะ วิตติ มิตติ มิตติ จิตติ จิตติ อัตติ อัตติ มะยะสุ สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู หุลู สะวาหายะฯ



20. อินทะสาวัง มะหาอินทะสาวัง พรหมะสาวัง มะหาพรหมะสาวัง จักกะวัตติสาวัง มะหาจักกะวัตติสาวัง เทวาสาวัง มะหาเทวาสาวัง อิสิสาวัง มะหาอิสิสาวัง มุนีสาวัง มะหามุนีสาวัง สัปปุริสะสาวัง มะหาสัปปุริสะสาวัง พุทธสาวัง ปัจเจกะพุทธสาวัง อะระหัตตะวาวัง สัพพะสิทธิวิชชาธะรานังสาวัง สัพพะโลกา อิริยานังสาวัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุฯ



21. สาวัง คุณัง วะชะ พะลัง เตชัง วิริยัง สิทธิกัมมัง ธัมมัง สัจจัง นิพพานัง โมกขัง คุยหะกัง ฐานังสีลัง ปัญญานิกขัง ปุญญัง ภาคะยัง ยะสัง ตัปปัง สุขัง สิริรูปัง จะตุวีสะติ เสนัง เอเตนะ สัจเจนะ สุวัตถิ โหนตุ หุลู หุลู สะวาหายะฯ


22. นะโม พุทธัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม อิติปิ โส ภะคะวาฯ


23. นะโม พุทธัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สวากขาโต ภะคะวาตาธัมโมฯ


24. นะโม ธัมมัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สวากขาโต ภะคะวาตาธัมโมฯ


25. นะโม ธัมมัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สุปะฏิปันโน ภะคะวาโต สาวะกะสังโฆฯ


26. นะโม สังฆัสสะ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา รูปะขันโธ เวทะนาขันโธ สัญญาขันโธ สังขาระขันโธ วิญญาณะขันโธ นะโม สุปะฎิปันโน ภะคะวะโต สาวะ กะสังโฆ วาหะปะริตตัง.


27. นะโม พุทธายะ มะอะอุ ทุกขัง อะนิจจัง อะนัตตา ยาวะ ตัสสะ หาโยโมนะ อุอะมะ ทุกขัง อนิจจัง อะนัตตา อุอะมะอา วันทา นะโมพุทธายะ มะอะอุ ทุกขัง อนิตจัง อนัตตาฯ


คำกรวดน้ำ ของยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก

อิมินา ปุญญะกัมเมนะ
ด้วยเดชะผลบุญแห่งข้าพเจ้าได้สร้างและสวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎกนี้ ขอให้ค้ำชูอุดหนุนคุณบิดา มารดา พระมหากษัตริย์ ผู้มีพระคุณ ญาติกา ครูอุปปัชฌา อาจารย์ เจ้ากรรมนายเวร และมิตรรักสนิทเพื่อน สรรพสัตว์น้อยใหญ่ พระภูมิเจ้าที่ เจ้ากรุงพาลี แม่พระธรณี แม่พระคงคา แม่พระโพสพ พญายมราช นายนิริยบาลท้าวจตุโลกะบาลทั้งสี่ ศิริคุตอำมาตย์ ชั้นจาตุมมะหาราชิกาเบื้องบนสูงสุดจนถึงภวัคคะพรหม และเบื้องล่างต่ำสุด ตั้งแต่โลกันตมหานรกและอเวจีขึ้นมา จนถึงโลกมนุษย์ สุดรอบขอบจักรวาล อนันตจักรวาล คุณพระศรีรัตนะตรัยและเทพยดาทั้งหลายตลอดทั้ง อินทร์ พรหม ยมยักษ์คนธรรพ์ นาคา พระเพลิง พระพาย พระพิรุณ ท่านทั้งหลาย ที่ต้องทุกข์ขอให้พ้นจากทุกข์ท่านทั้งหลายที่ได้สุข ขอให้ได้สุขยิ่งๆขึ้นไป ด้วยเดชะผลบุญแห่งข้าพเจ้าอุทิศให้ไปนี้ จงเป็นอุปนิสัยปัจจัยให้ถึงพระนิพพานในปัจจุบัน และอนาคตกาลเบื้องหน้าโน้นเทอญฯ.
พุทธัง อะนันตัง ธัมมัง จักกะวาลัง สังฆัง นิพพานะปัจจะโย โหนตุ.

พุทธศาสนสุภาษิต


คำสอนในพระพุทธศาสนามีองค์ 9 ประการ ที่เรียกว่า นวังคสัตถุศาสน์ ได้แก่ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณ คาถา อุทาน อิติวุตตกะ ชาดก อัพภูตธรรม และ เวทัลละ พุทธศาสนสุภาษิต ได้มาจากเนื้อหาที่ปรากฎอยู่ในคำสอนดังกล่าว ที่มีอยู่เป็นจำนวนมาก เป็นเนื้อความสั้น ๆ ที่ทรงคุณค่า ให้ข้อคิด ข้อเตือนใจ ให้ผู้ที่ได้ศึกษาแล้ว มีความรู้ความเข้าใจ และยึดถือเป็นหลักธรรมประจำใจ เพื่อนำไปประพฤติปฏิบัติในแนวทางที่ถูกที่ควร ตรงทางอันจะนำไปสู่ความสุขความเจริญงอกงามในชีวิตของตน และยังเป็นการเสริมสร้างสันติสุขในสังคมโลกอีกด้วย

พุทธศาสนสุภาษิตคือ สุภาษิตที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงดำรัสไว้ ซึ่งมีคุณค่าสูงส่ง สามารถใช้ได้ทั้งเป็นแนวทางดำเนินชีวิต เตือนใจ หาคำตอบที่ดีสำหรับปัญหาที่สงสัย หรือ แม้แต่เตือน สติ ให้เรา หู ตา สว่าง เกิดปัญญาเข้าใจ ได้อุบายที่ดีในการดำเนินชีวิต การแก้ปัญหา และพ้นจากเครื่องเศร้าหมองได้

พุทธศาสนสุภาษิตเป็นที่นิยมของหมู่ชนทั้งหลาย ถึงแม้จะต่างเชื้อชาติ ต่างศาสนาต่างก็มีสุภาษิตในหมู่ของตน คำสุภาษิตนั้นเป็นคำสั้นๆ จำได้ไม่ยากเย็นอีกทั้งไพเราะ และมีความหมาย ลึก กินใจ มีคุณค่า และประโยชน์ แก่ พระภิกษุสงฆ์ สามเณร ผู้ที่อยู่ในวัยเรียน วัยทำงาน วัยครองเรือน วัยสูงอายุ หากมีเวลา ให้แก่พระศาสนาบ้าง เพียงอ่านและท่องจำวันละบท ศึกษาให้เข้าใจ ทั้งนี้ก็เพื่อน้อมนำไปประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจำวันจะบังเกิดประโยชน์แก่ตนเองและผู้อื่นโดยทั่วไป



ที่มา: หนังสือพุทธศาสนสุภาษิต ฉบับสมบูรณ์ โดยธรรมสภาจัดพิมพ์